หากดูตาม รายการสินค้าที่ส่งออกขยายตัว เทียบ มี.ค. ปีที่แล้ว
1. ทองคำ +215%: สาเหตุหลักจากราคาทองที่เพิ่มขึ้น และการระบาดในเอเชียแนวโน้มภาพรวมลดลง ทำให้ส่งออกขยายตัวใน ฮ่องกง สิงคโปร์ กัมพูชา
2. อากาศยานฯ +1,129%: ขยายตัวในจลาดอินโดนีเซีย ฮ่องกง ฝรั่งเศส อิตาลี
3. ยานพานหะอื่น (อาวุธ) +1,263.2%: ส่วนใหญ่มาจากการส่งอาวุธซ้อมรบกลับไปสหรัฐฯ มูลค่า ประมาณ 560 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
4. เครื่องคอมพิวเตอร์ +17.6%: เกิดจากจีนชะลอการผลิต และผลบวกจากการ Work from home และการเรียนออนไลน์ของนักเรียนทั่วโลก
5. เหล็ก +29.5%: การส่งออกไปญี่ปุ่น และอินเดีย เติบโตดี โดยเฉพาะโครงก่อสร้างทำด้วยเหล็ก ประกับกับผู้ผลิตจีนสต็อกลดลง (แต่ก็มีความเสี่ยงจากความต้องการเหล็กที่ลดลงของรถยนต์ และอสงัหาริมทรัพย์)
6. เครื่องปรับอากาศ +8.1%: ได้ประโยชน์จาก FTA ไม่เก็บภาษีนำเข้า ได้แก่ อาเซียน ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ชิลี เปรู และฮ่องกง และยังมีมาตรการ Work from home
7. น้ำตาลทราย +17.5%: ผู้ผลิตอ้อยในโลกเกิดปัญหาภัยแล้ง ทำให้ไทยส่งออกได้เพิ่ม
8. ผัก ผลไม้ แช่งแข็งและแปรรูป +10.9%: กลับมาเติบโตหลังจากจีนและฮ่องกงดีขึ้น
9. ไก่สดแช่แข็งและแปรรูป +7.5%: ความต้องการอาหารเพิ่มขึ้น สินค้าจำเป็น
10. อาหารสัตว์เลี้ยง +11.5%: ความนิยมในการเลี้ยงหมา และแมว ยังเพิ่มต่อเนื่อง และช่วงนี้อยู่บ้านคงได้เลี้ยงกันเต็มที่ รวมไปถึง FTA ทำให้ไทยมีแต้มต่อ
หากดูตาม รายการสินค้าที่ส่งออกหดตัว เทียบ มี.ค. ปีที่แล้ว
1. รถยนต์และส่วนประกอบ -28.7%: ความต้องการหดตัวทั้งโลก มีเฉพาะส่งออกชิ้นส่วนรถ EV ไปญี่ปุ่นที่ยังขยายตัวดี
2. สินค้าเกี่ยวเนื่องกับน้ำมัน –17.4%: ตามสงครามราคาน้ำมัน
3. อัญมณีและเครื่องประดับไม่รวมทองคำ -25.3%: สินค้าฟุ่มเฟือย
4. แผงวงจรไฟฟ้า -4.3%: ผลกระทบจากอุตสาหกรรมรถยนต์ และจีนเริ่มกลับมาผลิตได้
5. ยางพารา -24.7%: ผลจากจีนหยุดชะงักต้องเลื่อนการส่งมอบ และความต้องการยางพาราในประเทศเพิ่มขึ้น
6. ข้าว -13.2%: ตลาดส่งออกหลักมีการปิดประเทศ ทำให้ส่งมอบล่าช้า
7. มันสำปะหลัง -13.1%: ภัยแล้วทำให้ปริมาณแป้งลดลง ประกอบกับผลจากโควิด-19
8. อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป -6.0%: เนื่องจากตลาดคู่ค้าหดตัว
หากดูการส่งออก ตามรายประเทศ
หากดูตาม รายการสินค้าที่ส่งออกขยายตัว เทียบ มี.ค. ปีที่แล้ว
1. ทองคำ +215%: สาเหตุหลักจากราคาทองที่เพิ่มขึ้น และการระบาดในเอเชียแนวโน้มภาพรวมลดลง ทำให้ส่งออกขยายตัวใน ฮ่องกง สิงคโปร์ กัมพูชา
2. อากาศยานฯ +1,129%: ขยายตัวในจลาดอินโดนีเซีย ฮ่องกง ฝรั่งเศส อิตาลี
3. ยานพานหะอื่น (อาวุธ) +1,263.2%: ส่วนใหญ่มาจากการส่งอาวุธซ้อมรบกลับไปสหรัฐฯ มูลค่า ประมาณ 560 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
4. เครื่องคอมพิวเตอร์ +17.6%: เกิดจากจีนชะลอการผลิต และผลบวกจากการ Work from home และการเรียนออนไลน์ของนักเรียนทั่วโลก
5. เหล็ก +29.5%: การส่งออกไปญี่ปุ่น และอินเดีย เติบโตดี โดยเฉพาะโครงก่อสร้างทำด้วยเหล็ก ประกับกับผู้ผลิตจีนสต็อกลดลง (แต่ก็มีความเสี่ยงจากความต้องการเหล็กที่ลดลงของรถยนต์ และอสงัหาริมทรัพย์)
6. เครื่องปรับอากาศ +8.1%: ได้ประโยชน์จาก FTA ไม่เก็บภาษีนำเข้า ได้แก่ อาเซียน ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ชิลี เปรู และฮ่องกง และยังมีมาตรการ Work from home
7. น้ำตาลทราย +17.5%: ผู้ผลิตอ้อยในโลกเกิดปัญหาภัยแล้ง ทำให้ไทยส่งออกได้เพิ่ม
8. ผัก ผลไม้ แช่งแข็งและแปรรูป +10.9%: กลับมาเติบโตหลังจากจีนและฮ่องกงดีขึ้น
9. ไก่สดแช่แข็งและแปรรูป +7.5%: ความต้องการอาหารเพิ่มขึ้น สินค้าจำเป็น
10. อาหารสัตว์เลี้ยง +11.5%: ความนิยมในการเลี้ยงหมา และแมว ยังเพิ่มต่อเนื่อง และช่วงนี้อยู่บ้านคงได้เลี้ยงกันเต็มที่ รวมไปถึง FTA ทำให้ไทยมีแต้มต่อ
หากดูตาม รายการสินค้าที่ส่งออกหดตัว เทียบ มี.ค. ปีที่แล้ว
1. รถยนต์และส่วนประกอบ -28.7%: ความต้องการหดตัวทั้งโลก มีเฉพาะส่งออกชิ้นส่วนรถ EV ไปญี่ปุ่นที่ยังขยายตัวดี
2. สินค้าเกี่ยวเนื่องกับน้ำมัน –17.4%: ตามสงครามราคาน้ำมัน
3. อัญมณีและเครื่องประดับไม่รวมทองคำ -25.3%: สินค้าฟุ่มเฟือย
4. แผงวงจรไฟฟ้า -4.3%: ผลกระทบจากอุตสาหกรรมรถยนต์ และจีนเริ่มกลับมาผลิตได้
5. ยางพารา -24.7%: ผลจากจีนหยุดชะงักต้องเลื่อนการส่งมอบ และความต้องการยางพาราในประเทศเพิ่มขึ้น
6. ข้าว -13.2%: ตลาดส่งออกหลักมีการปิดประเทศ ทำให้ส่งมอบล่าช้า
7. มันสำปะหลัง -13.1%: ภัยแล้วทำให้ปริมาณแป้งลดลง ประกอบกับผลจากโควิด-19
8. อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป -6.0%: เนื่องจากตลาดคู่ค้าหดตัว
หากดูการส่งออก ตามรายประเทศ
1. สหรัฐฯ +42.9% หากหักอาวุธก็ยังโต 19.5%: สินค้าที่ขยายตัวได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์, อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ, เครื่องปรับอากาศและข้าว, Q1 ปีนี้ -2.7%
2. จีน -4.8%: สินค้าที่หดตัวได้แก่ เม็ดพลาสติก เคมีภัณฑ์ ยางพารา, สินค้าขยายตัวได้แก่ ผลไม้สดแช่แข็งและแห้ง และเครื่องคอมพิวเตอร์, Q1 ปีนี้ -0.9%
3. สหภาพยุโรป (15) -14.8%: สินค้าที่หดตัวได้แก่ รถยนต์ อัญมณี คอมพิวเตอร์, สินค้าขยายตัวได้แก่ อากาศยานและส่วนประกอบ รถจักรยานยนต์, Q1 ปีนี้ -4.6%
4. ญี่ปุ่น -2.8%: สินค้าที่หดตัวได้แก่ เครื่องใช้ไฟฟ้า โทรทัศน์ เม็ดพลาสติก คอมพิวเตอร์, สินค้าขยายตัวได้แก่ รถยนต์ โทรทัศน์ เคมีภัณฑ์, Q1 ปีนี้ -5.5%
5. อาเซียน (5) ขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3 +6.8%: สินค้าขยายตัวได้แก่ อากาศยานและส่วนประกอบ อัญมณี เครื่องปรับอากาศ น้ำตาลทราย เม็ดพลาสติก, Q1 ปีนี้ +5.7%
6. CLMV ขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3 +2.9%: สินค้าขยายตัวได้แก่ อัญมณี สินค้าปศุสัตว์ เครื่องปรับอากาศ น้ำตาลทราย อุปกรณ์กึ่งตัวนำ เครื่องปรับอากาศ, Q1 ปีนี้ +2.7%
7. เอเชียใต้ -24.4%: สินค้าที่หดตัวได้แก่ เครื่องปรับอากาศ เคมีภัณฑ์ รถยนต์ อัญมณี และปูนซิเมนต์, สินค้าขยายตัวได้แก่เหล็ก ผ้าผืน เครื่องยนต์สันดาปฯ ตู้เย็น, Q1 ปีนี้ -10.6%
ต้องติดตามของเดือนถัดไปว่าแนวโน้มจะเป็นอย่างไร
ดูเร็วๆ ผู้ประกอบการคงต้องปรับกลยุทธ์มาเน้น อาเซียน CLMV ซึ่งยังสามารถขนส่งสินค้าระหว่างกันได้ รวมไปถึงตลาดสหรัฐ ที่เติบโตได้ดีมาต่อเนื่องตั้งแต่ปีที่แล้ว ผลพวงจากสงครามการค้า
════════════════
ราคาขนส่งทั่วโลก ที่ดีที่สุด
════════════════
ที่มา:
https://www.scbeic.com/th/detail/file/product/6779/fmpmt108eh/EIC-Flash_Exports-Mar_TH_20200421.pdf
👫 พิเศษสุด! นำเข้าส่งออก สุดขอบฟ้า Marketplace
สำหรับเพื่อนๆ นำเข้า ส่งออก เชิญค้าขายกันได้เลย
https://www.facebook.com/groups/573677150199055/?source_id=416086589242286
❤️ ช่วย SMEs ก้าวไกลไปทั่วโลก
👫 ร่วมกลุ่มผู้ประกอบการนำเข้า–ส่งออก